Your question has been sent.
Expect an answer!
Lum Phli, Phra Nakhon Si Ayutthaya District, Phra Nakhon Si Ayutthaya 13000, Thailand, Phra Nakhon Si Ayutthaya
Wat Phrayaman - Tourist attraction in Phra Nakhon Si Ayutthaya, Thailand
วัดพระยาแมน เป็นวัดร้าง ตั้งอยู่ที่ตำบลลุมพลี อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยวัดพระยาแมนได้รับการประกาศให้เป็นโบราณสถานของชาติ แต่ไม่ได้กำหนดขอบเขต เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2486 หลังจากนั้น จึงได้รับการขึ้นทะเบียนแบบกำหนดขอบเขตอีกครั้ง เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2523วัดพระยาแมนเป็นวัดที่สร้างขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี โดยไม่ปรากฏนามผู้สร้างและไม่ทราบว่าสร้างขึ้นในรัชสมัยใด แต่ชื่อวัดพระยาแมนปรากฏในพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาในรัชสมัยสมเด็จพระเพทราชา กล่าวคือ ก่อนที่สมเด็จพระเพทราชาจะได้ครองราชสมบัตินั้น ผนวชอยู่ที่วัดพระยาแมน โดยพระอาจารย์อธิการได้ทำนายว่าพระองค์จะได้ขึ้นครองราชสมบัติ รวมทั้งยังได้ให้โอวาทานุสาสน์ในสมณะกิจทั้งปวง ดังนั้น เมื่อสมเด็จพระเพทราชาได้เสวยราชสมบัติแล้วจึงทรงพระราชดำริถึงคุณพระอาจารย์อธิการวัดพระยาแมน จึงเสด็จพระราชดำเนินไปยังวัดพระยาแมนเพื่อถวายนมัสการพระอาจารย์ แล้วมีพระราชดำรัสให้ให้สร้างพระอารามให้ถาวรขึ้นกว่าเก่า เมื่อสร้างแล้วเสร็จทรงพระกรุณาให้มีการสมโภช 3 วัน และทรงตั้งพระอาจารย์อธิการวัดพระยาแมน ชื่อ พระยาศรีสัจจญาณมุนี ราชาคณะ ฝ่ายคามวาสี พร้อมถวายเครื่องสมณบริขารพร้อมตามศักดิ์พระราชาคณะทุกประการ จากพงศาวดารแสดงให้เห็นว่าสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ที่ปรากฏอยู่ทุกวันนี้ล้วนเป็นฝีมือช่างคราวปฏิสังขรณ์ในครั้งนั้นทั้งสิ้น
โบราณสถานที่ตั้งอยู่หลบๆหลืบๆหลังบ้านคน ทางเขาช่วงฤดีฝน เละเลอะ เดินชมเหมือนไปดำนา อาจเพราะใกล้ชุมชน ขยะเยอะมากๆ ไม่มีคนดูแล
🌼โบราณสถานที่เก่าแก่ วัดเงียบสงบคนน้อย อยู่ห่างจากเกาะเมืองอยุธยาไปทางทิศเหนือ ใกล้คลองสระบัว สามารถมาได้ด้วยรถส่วนตัว หรือจะสนุกต้องปั่นจักรยานมาชม หาง่ายใกล้วัดอื่นๆ จากการเดินชม น่าจะเป็นวัดที่สร้างในสมัยอยุธยาตอนกลางถึงตอนปลาย วัดใหญ่ มีวิวสวยๆ สามารถเดินถ่ายรูป และถ้าใครมาแถวนี้จะมีวัดสวยๆ หลายวัดให้มาเดินเทียว และเป็นหนึ่งในวัดที่ควรมาสัมผัสด้วยตัวเองครับ--------------------------------------------------✳️ประวัติความเป็นมา วัดพระยาแมนเป็นวัดที่สร้างขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี โดยไม่ปรากฏนามผู้สร้างและไม่ทราบว่าสร้างขึ้นในรัชสมัยใด แต่ชื่อวัดพระยาแมนปรากฏในพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาในรัชสมัยสมเด็จพระเพทราชา กล่าวคือ ก่อนที่สมเด็จพระเพทราชาจะได้ครองราชสมบัตินั้น ผนวชอยู่ที่วัดพระยาแมน โดยพระอาจารย์อธิการได้ทำนายว่าพระองค์จะได้ขึ้นครองราชสมบัติ รวมทั้งยังได้ให้โอวาทานุสาสน์ในสมณะกิจทั้งปวง ดังนั้น เมื่อสมเด็จพระเพทราชาได้เสวยราชสมบัติแล้วจึงทรงพระราชดำริถึงคุณพระอาจารย์อธิการวัดพระยาแมน จึงเสด็จพระราชดำเนินไปยังวัดพระยาแมนเพื่อถวายนมัสการพระอาจารย์ แล้วมีพระราชดำรัสให้ให้สร้างพระอารามให้ถาวรขึ้นกว่าเก่า เมื่อสร้างแล้วเสร็จทรงพระกรุณาให้มีการสมโภช 3 วัน และทรงตั้งพระอาจารย์อธิการวัดพระยาแมน ชื่อ พระยาศรีสัจจญาณมุนี ราชาคณะ ฝ่ายคามวาสี พร้อมถวายเครื่องสมณบริขารพร้อมตามศักดิ์พระราชาคณะทุกประการ จากพงศาวดารแสดงให้เห็นว่าสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ที่ปรากฏอยู่ทุกวันนี้ล้วนเป็นฝีมือช่างคราวปฏิสังขรณ์ในครั้งนั้นทั้งสิ้น⚜️อ้างอิงประวัติความเป็นมา wikipedia
วัดพระยาแมนเป็นวัดที่สร้างขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี โดยไม่ปรากฏนามผู้สร้างและไม่ทราบว่าสร้างขึ้นในรัชสมัยใดแต่ชื่อวัดพระยาแมนปรากฏในพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาในรัชสมัยสมเด็จพระเพทราชา กล่าวคือ ก่อนที่สมเด็จพระเพทราชาจะได้ครองราชสมบัตินั้น ผนวชอยู่ที่วัดพระยาแมน โดยพระอาจารย์อธิการได้ทำนายว่าพระองค์จะได้ขึ้นครองราชสมบัติ รวมทั้งยังได้ให้โอวาทานุสาสน์ในสมณะกิจทั้งปวงดังนั้น เมื่อสมเด็จพระเพทราชาได้เสวยราชสมบัติแล้วจึงทรงพระราชดำริถึงคุณพระอาจารย์อธิการวัดพระยาแมน จึงเสด็จพระราชดำเนินไปยังวัดพระยาแมนเพื่อถวายนมัสการพระอาจารย์ แล้วมีพระราชดำรัสให้ให้สร้างพระอารามให้ถาวรขึ้นกว่าเก่าเมื่อสร้างแล้วเสร็จทรงพระกรุณาให้มีการสมโภช 3 วัน และทรงตั้งพระอาจารย์อธิการวัดพระยาแมน ชื่อ พระยาศรีสัจจญาณมุนี ราชาคณะ ฝ่ายคามวาสี พร้อมถวายเครื่องสมณบริขารพร้อมตามศักดิ์พระราชาคณะทุกประการ จากพงศาวดารแสดงให้เห็นว่าสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ที่ปรากฏอยู่ทุกวันนี้ล้วนเป็นฝีมือช่างคราวปฏิสังขรณ์ในครั้งนั้นทั้งสิ้นวัดพระยาแมน เป็นวัดร้าง ตั้งอยู่ที่ตำบลลุมพลี อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยวัดพระยาแมนได้รับการประกาศให้เป็นโบราณสถานของชาติ แต่ไม่ได้กำหนดขอบเขต เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2486 หลังจากนั้น จึงได้รับการขึ้นทะเบียนแบบกำหนดขอบเขตอีกครั้ง เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2523
ทางเข้าจะแคบหน่อยนะครับ ทางเล็กเลี้ยวซ้ายเข้าไปเลยไม่ต้องกลัวหลงสำหรับท่านใดที่ใช้ google map นำทาง
วัดพระยาแมนถ้ามาเร็วกว่านี้สักครึ่งเดือน คงไม่ได้เข้าวัดนี้ สภาพดิน สภาพหญ้า บอกว่าน้ำเพิ่งลดมาไม่เกิน 1 อาทิตย์วัดพระยาแมนเป็นวัดที่สร้างขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี โดยไม่ปรากฏนามผู้สร้างและไม่ทราบว่าสร้างขึ้นในรัชสมัยใด แต่ชื่อวัดพระยาแมนปรากฏในพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาในรัชสมัยสมเด็จพระเพทราชา กล่าวคือ ก่อนที่สมเด็จพระเพทราชาจะได้ครองราชสมบัตินั้น ผนวชอยู่ที่วัดพระยาแมน โดยพระอาจารย์อธิการได้ทำนายว่าพระองค์จะได้ขึ้นครองราชสมบัติ รวมทั้งยังได้ให้โอวาทานุสาสน์ในสมณะกิจทั้งปวง ดังนั้น เมื่อสมเด็จพระเพทราชาได้เสวยราชสมบัติแล้วจึงทรงพระราชดำริถึงคุณพระอาจารย์อธิการวัดพระยาแมน จึงเสด็จพระราชดำเนินไปยังวัดพระยาแมนเพื่อถวายนมัสการพระอาจารย์ แล้วมีพระราชดำรัสให้ให้สร้างพระอารามให้ถาวรขึ้นกว่าเก่า เมื่อสร้างแล้วเสร็จทรงพระกรุณาให้มีการสมโภช 3 วัน และทรงตั้งพระอาจารย์อธิการวัดพระยาแมน ชื่อ พระยาศรีสัจจญาณมุนี ราชาคณะ ฝ่ายคามวาสี พร้อมถวายเครื่องสมณบริขารพร้อมตามศักดิ์พระราชาคณะทุกประการ จากพงศาวดารแสดงให้เห็นว่าสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ที่ปรากฏอยู่ทุกวันนี้ล้วนเป็นฝีมือช่างคราวปฏิสังขรณ์ในครั้งนั้นทั้งสิ้น
โบราณสถานเก่า อีกแห่งหนึ่งในจ. อยุธยา เงียบสงบ ทางเข้าค่อนข้างคับแคบและเปลี่ยว
สวยคุ้มค่าที่จะไปเที่ยว บริเวณโดยรอบเงียบสงบ มีที่จอดรถเป็นสัดส่วนสะดวก แ่ต่ไม่มีร้านขายของและห้องน้ำ ทางเข้า 100 เมตรสุดท้ายเป็นถนนขรุขระ แคบและต้นไม้ข้างทางรกมาก ใน Google map จะเห็นเป็นถนนสีเทาๆ แต่พอผ่านช่วงนี้ไปแล้ว ถนนก็จะกว้างและดีเป็นปกติ
สำหรับประวัติของวัดพระยาแมนนั้น "วัดพระยาแมน" ตั้งอยู่นอกเกาะเมืองอยุธยาด้านทิศเหนือ ในพื้นที่บริเวณทุ่งขวัญ วัดมีกำแพงแก้วล้อม มีพระอุโบสถเป็นประธานของวัด ด้านหน้าหรือด้านทิศตะวันออกของพระอุโบสถมีพระปรางค์ 2 องค์ตั้งอยู่คู่กัน เป็นวัดที่สร้างขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี โดยไม่ปรากฏนามผู้สร้างและไม่ทราบว่าสร้างขึ้นในรัชสมัยใดแต่ชื่อวัดพระยาแมนปรากฏในพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาในรัชสมัยสมเด็จพระเพทราชา กล่าวคือก่อนที่สมเด็จพระเพทราชาจะครองราชสมบัตินั้นได้ผนวชอยู่ที่วัดพระยาแมน โดยพระอาจารย์อธิการได้ทำนายว่า พระองค์จะได้ขึ้นครองราชสมบัติ รวมทั้งยังได้ให้โอวาทานุสาสน์ในสมณะกิจทั้งปวงดังนั้น เมื่อสมเด็จพระเพทราชาได้เสวยราชสมบัติแล้วจึงทรงพระราชดำริถึงคุณพระอาจารย์อธิการวัดพระยาแมน จึงเสด็จพระราชดำเนินไปยังวัดพระยาแมน เพื่อถวายนมัสการพระอาจารย์ แล้วมีพระราชดำรัสให้สร้างพระอารามให้ถาวรขึ้นกว่าเก่า เมื่อสร้างแล้วเสร็จทรงพระกรุณาให้มีการสมโภช 3 วัน และทรงตั้งพระอาจารย์อธิการวัดพระยาแมน ชื่อ "พระยาศรีสัจจญาณมุนี" ราชาคณะฝ่ายคามวาสี พร้อมถวายเครื่องสมณบริขาร พร้อมตามศักดิ์พระราชาคณะทุกประการ จากพงศาวดารแสดงให้เห็นว่า สิ่งก่อสร้างต่างๆ ที่ปรากฏอยู่ทุกวันนี้ล้วนเป็นฝีมือช่างคราวปฏิสังขรณ์ในครั้งนั้นทั้งสิ้น"วัดพระยาแมน" ถือว่าเป็นวัดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในแถบคลองสระบัว ทั้งมีพระอุโบสถที่ยังคงความสมบูรณ์ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
จากที่ไปสำรวจมาเป็นวัดเก่าแก่และค่อนข้างใหญ่ แต่ไม่ค่อยมีผู้คนไปสถานที่แห่งนี้ เพราะทางเข้าค่อนข้างแคบและรอบๆติดหมู่บ้าน เราไปที่นั่นกับเพื่อนฝรั่ง เด็กดีใจที่มีคนมาเที่ยวที่นี่ มันไม่ค่อยมีอะไรตื่นเต้นแต่ตอนพระอาทิตย์ตกดินเป็นวิวที่สวยมาก
วัดร้างแต่สวยนะ ค่อนข้างสมบูรณ์เลย มีระบบท่อน้ำให้ดูเล็กน้อย
สวยสงบตามแบบโบราณสถานไปมาเมื่อวานเดินอยู่คนเดียวทั้งวัดไม่มีคนเดินชมเป็นเพื่อนเลยคนมาด้วยก็ไม่ลงรถชอบค่ะสวยดีลมเย็นสบายๆน่านั่งเล่นอ่านหนังสือวาดรูปใครชอบแบบสวยงามเงียบๆมาแวะชมเลยค่ะ
A bit difficult to findBut once arrived the scene was stunningUsed to be a place for elephant show it seem
บรรยากาศดี กว้างขวาง
เป็นวัดร้าง ไม่ค่อยมีคนรู้จัก คนเที่ยวชมน้อยเงียบสงบ
Great place for a picnic. No crowds and beautifully preserved walls
ตัวโบสถ์ยังคงสมบูรณ์แบบอยู่พอสมควร สถานที่กว้างขวาง มีโบราณสถานน่าสนใจโดยรอบ
เงียบสงบและสวยงาม
เป็น unseen ที่นึง ทางเข้าถนนสายเล็กๆ ตาม Google Map ไปถูกต้องเป็นสถานที่นึงที่ถ่ายรูปโพสได้สวยมากๆ แนะนำให้ไปเยือน ไม่ผิดหวังแน่นอน
วัดพระยาแมนตั้งอยู่ที่ตำบลลุมพลีจังหวัดพระนครศรีอยุธยา(เป็นวัดร้างที่มีพื้นที่ใหญ่สุดในแถบคลองสระบัว)วัดพระยาแมนเป็นวัดที่สร้างขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี โดยไม่ปรากฏนามผู้สร้างและไม่ทราบว่าสร้างขึ้นในรัชสมัยใด📌.. แต่ชื่อวัดพระยาแมนปรากฏในพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาในรัชสมัยสมเด็จพระเพทราชา กล่าวคือ ก่อนที่สมเด็จพระเพทราชาจะได้ครองราชสมบัตินั้น ผนวชอยู่ที่วัดพระยาแมน โดยพระอาจารย์อธิการได้ทำนายว่าพระองค์จะได้ขึ้นครองราชสมบัติ รวมทั้งยังได้ให้โอวาทานุสาสน์ในสมณะกิจทั้งปวง.. ดังนั้น เมื่อสมเด็จพระเพทราชาได้เสวยราชสมบัติแล้วจึงทรงพระราชดำริถึงคุณพระอาจารย์อธิการวัดพระยาแมน จึงเสด็จพระราชดำเนินไปยังวัดพระยาแมนเพื่อถวายนมัสการพระอาจารย์ แล้วมีพระราชดำรัสให้ให้สร้างพระอารามให้ถาวรขึ้นกว่าเก่า เมื่อสร้างแล้วเสร็จทรงพระกรุณาให้มีการสมโภช 3 วัน และทรงตั้งพระอาจารย์อธิการวัดพระยาแมน ชื่อ พระยาศรีสัจจญาณมุนี ราชาคณะ ฝ่ายคามวาสี พร้อมถวายเครื่องสมณบริขารพร้อมตามศักดิ์พระราชาคณะทุกประการ จากพงศาวดารแสดงให้เห็นว่าสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ที่ปรากฏอยู่ทุกวันนี้ล้วนเป็นฝีมือช่างคราวปฏิสังขรณ์ในครั้งนั้นทั้งสิ้น📌.. โดยวัดพระยาแมนได้รับการประกาศให้เป็นโบราณสถานของชาติ แต่ไม่ได้กำหนดขอบเขต เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2486 หลังจากนั้น จึงได้รับการขึ้นทะเบียนแบบกำหนดขอบเขตอีกครั้ง เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2523
งดงาม แต่เปลี่ยวจัง
ถ้าในอดีคความสวยงามคงไม่อาจจะพรรณนาได้ครับ วันนี้เป็นบุญตาที่ได้มีโอกาสมากราบพระในพระอุโบสถ
Unseen โบราณสถานนอกเกาะเมือง บริเวณตำบลลุมพลี ว่ากันว่าวัดนี้เป็นที่พำนักของพระอาจารย์ของพระเพทราชา และถูกบูรณะในช่วงกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย สถาปัตยกรรมภายในพระอุโบสถและเจดีย์คู่ ดูแปลกตาเพราะมีช่องเล็กๆ มากมายบนผนัง (ตามคำบรรยายของสถานที่คาดว่าเอาไว้ประดิษฐานพระพุทธรูปองค์เล็กและมีหอระฆังซึ่งมีลักษณะช่องที่เจาะทั้งสี่ด้านเป็นทรงแหลมขึ้นไปอย่างแบบสถาปัตยกรรมของเปอร์เซีย บริเวณถัดออกมาจากพระอุโบสถเล็กน้อยทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือมีฐานของที่เก็บกักน้ำประปา และท่อดินเผาในส่วนของทางเข้าโบราณสถานก็ขับรถตามกูเกิ้ลมาเจอทางเข้าแคบๆ คิดว่าไม่น่าใช่ก็ขับเลยไป ปรากฏว่ากูเกิ้ลก็บอกให้กลับรถๆ เลยต้องกลับรถ วิ่งเข้าไปเป็นทางแคบและเป็นทางดินยาวประมาณ 100 เมตร บางช่วงเป็นหลุมเป็นบ่อ รถเก๋งควรใช้วิจารณญานก่อนตัดสินใจขับเข้าไป 555+
บ้านผมอยู่ใกล้ เป็นโบร่นเก่าอยู่ บังเหียน มาใกล้ภพคำแลวจะรู้สึกได้
意外と広々とした遺跡ちょっと離れているのでアユタヤですが入場料的なものはありませんというか誰もいません・・(´ε`;)
アユタヤ北エリアでは最大級の遺跡。結構でかい本堂をはじめ、なかなか見ごたえがあります。ただ、めっちゃ行きにくいよね、ここ。
สวยสดงดงามวัดที่พระเพทราชาสร้างให้พระอาจารย์ที่ทำนายท่านตอนท่านบวชอยู่ด้วยว่าจะได้เป็นกษัตริย์พอท่านได้เป็นกษัตริย์ก็กลับมาสร้างวัดให้ใหญ่ขึ้นพร้อมนกพระอาจารย์ท่านขึ้นเป็นพระราชาคณะชื่อว่าพนะศรีสัจจะญาณมุนี
ถือว่าเป็นวัดที่ใหญ่มาก ในอดีต ที่ยังหลงเหลือซากให้เห็นอยู่ค่อนข้างเยอะ เหมาะสำหรับมาถ่ายรูป เยี่ยมชม เพราะคนไม่ค่อยเยอะ
เที่ยวชมสถานที่โบราณ
Wat Phrayaman is an abandoned temple, outside of the city island in the east, Tambon Lum Phli, Amphoe Phra Nakhon Si Ayutthaya, Chang Wat aphra Nakhon Si Ayutthaya. Registered as an ancient remains on July 20, A.D. 1943 ( B.E. 2486 without marking boundary and completely amendatory on October 21, A.D. 1980 ( B.E. 2523 ). No strong evidence of when this temple built and by whom, referring to the archaeological evidence Somdej Phra Phetracha used to be ordained at this temple and his master forecasted that he will be a king, he issued an order to renovate and completely finished in A.D. 1690 ( B.E. 2233 and promoted as Reverend Abbot Phra Sri Satjayanmunee after the forecast fulfilled. With such an evidences dating back to the time of this temple established in the Middle to Late Ayutthaya period ( the 22-23th B.E.century ), it was abandoned after Ayutthaya fell to Burmese in A.D. 1767 ( B.E. 2310 ). Situated in the huge area that pave the way for any religious activities, it means this temple must have been the important templeat that time, built on the high land with 3 steps to reach Ubosot so as to get avoid of flooding problems which was often happened ( Ayutthaya was surrounded by 3 rivers, Pa Sak River in the east, Chao Phraya on the west and south and Lopburi River in the north, King U-Thong issued an order to dig these three rivers connected with the purpose of preventing city from invaders). Surrounded with walls,holes of lotus leaves features pierced around the wall for placing candles ( no electric in the ancient time any religious activities executed inside Ubosot was the light needed ). Late Ayutthaya period architecture shown on the twin Prangs in the east, belfry, base and chedi. This temple must have been important as mentioned above, apart from its big area, the light from numerous candles, flood protection ( 3 steps stairs),the water ( wells )system also built. Even though this is abandoned temple, I recommend visitors to visit since it is on very huge area in the middle of the field and selected to be the performance site for special location, no admission fee ( no need to charge because visitors can reach 360 degrees around the area ).
Very interesting place with a few buidings to see.would have looked great in its day.very relaxing as not people but well kept.
สร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลาง-ปลาย ราวพุทธศตวรรษที่ 22-23 ถูกทิ้งร้างหลังเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 เป็นโบราณสถานที่งดงามและได้รับการดูแลภูมิทัศน์โดยรอบเป็นอย่างดีเหมาะกับการไปเยี่ยมชม
Interesting large temple ruin. Quite unknown & unfortunately victim to some vandalism.
ชอบค่ะเป็นโบราณสถานเก่าแก่มีกองละครมาถ่ายทำบ่อยๆ
アユタヤ旧市街の島の外、北側の遺跡群のひとつで、広大な敷地を持ち、アユタヤ王朝初期に作られたと考えられています。アユタヤ王朝第31代ペートラチャー王によって大々的に修復されたとの伝承が残っています。非常に分かり難い場所にあり、Googleマップも使えない場所になりますが、非常に珍しい「給水設備の遺跡」をはじめ、2連のチェーディー(仏塔)、特徴的な礼拝堂など見所の多い仏教寺院遺跡です。国鉄アユタヤ駅からトゥクトゥクを利用して行くことをオススメします。
วัดร้าง มีร่องรอยการวางระบบน้ำ
Outside of Ayuthaya but great for relax.
มาเป็นครั้งแรกได้มาทำCSR ของธนาคารกรุงศรีอยุธยา ได้ร่วมอนุรักษ์ ทำความสะอาดภายในบริเวณวัดพระยาแมนแห่งนี้ ซึ่งสร้างและบูรณะโดยสมเด็จพระเพทราชา สมัยอยุธยาตอนปลาย..
โบราณสถานอันทรงคุณค่าทางประวัติศาสตร์
This is an ancient temple with all the good memory
ได้รับความรู้ที่ลุ่มลึก สรุปว่าการจัดวางผังวัดดีมาก วัดนี้ขุดคูน้ำรอบวัดเป็นแนวเขตวัดแทนการสร้างกำแพง ซึ่งต่างจากวัดอื่นในพระนครศรีอยุธยา
かなり穴場のアユタヤ遺跡です。行くのには、トゥクトゥクをチャーターし、良く説明してから出発した方が良いでしょう。観光客は皆無です。但し、その分、雰囲気や景観を独り占め出来るのは間違いありません。広大な草原に佇む、レンガ造りの古寺院は、それだけで見応えのあるものです。野良犬も居なかったので、安心して観光できました。但し、遺跡内には割と新しい象の糞が残っており、まさかとは思いますが、野生象が徘徊している事もあるかもしれません。多分、飼育されている象の散歩だとは思いますが、念の為、ご注意下さい。
งดงาม อลังการ มากครับ
โบราณสถานสมัยอยุธยาตอนปลาย โบสถ์สวยงาม เจดีย์ย่อมุมไม้สิบสอง และพระปรางค์
โบราณสถานสมัยอยุธยาตอนกลาง-ปลาย พระอุโบสถใหญ่โต ผนังมีช่องขนาดเล็กประดิษฐานพระพุทธรูปขนาดเล็ก พระปรางค์ พระเจดีย์ย่อมุม สวยงามมาก
โบราณสถานสมัยอยุธยาตอนกลาง-ปลาย โบสถ์ เจดีย์ สวยงาม
วัดโบราณ ขนาดใหญ่ พื้นที่กว้างมาก ไม่เปลี่ยว มีบ้านคนอยู่รอบๆ นักท่องเที่ยวไม่ค่อยรู้จัก เหมาะกับการถ่ายรูป
I love this old place. There is Special Wall for me.
Attractive place as the ancient Buddhist Temple.
Kg
Lum Phli, Phra Nakhon Si Ayutthaya District, Phra Nakhon Si Ayutthaya 13000, Thailand, Phra Nakhon Si Ayutthaya
Your question has been sent.
Expect an answer!
Thank!
Your review has been submitted.
Thank you for being with us!
We will call you back!